สายเฮลท์ตี้ต้องไม่พลาด เคล็ดลับสุขภาพดีสายเฮลท์ตี้ กิฟฟารีน ออนไลน์ ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Giffarine by Rungarun
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
กิฟฟารีน ออนไลน์
โทร. 0868006463
ไลน์ ไอดี: rn2359

  0 ชิ้น
        จำเป็นอย่างยิ่งที่จะทำความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ 
ซึ่งการที่มนุษย์ จะแสดงพฤติกรรมใดๆ ออกมานั้นเป็นเพราะระบบการทำงานของร่างกายไม่ว่านักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้ทำการศึกษาค้นคว้ามาเป็นระยะเวลายาวนานต่างมีความคิดเห็นตรงกันว่าร่างกายมนุษย์ สัตว์หรือพืชทั้งหลายจะมีโครงสร้างที่ประกอบขึ้นจากหน่วยที่เล็กที่สุดที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจนกระทั่งถึงส่วนประกอบที่ใหญ่ที่สุด แต่ละส่วนจะมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน โดยไม่มีส่วนใดที่สามารถทำงานอย่างอิสระยกเว้นเม็ดเลือด โดยประมาณได้ว่า 75% ถึง 80% ของร่างกายผู้ใหญ่ประกอบด้วยน้ำ ส่วนที่เหลือเป็นสารประกอบทางเคมี 
            ดังนั้น เมื่อเซลล์มารวมกลุ่มเป็นเนื้อเยื่อพิเศษ เช่น กล้ามเนื้อ เส้นประสาท กระดูก ฯลฯ เนื้อเยื่อเหล่านี้จะทำงาน
ร่วมกันเป็นอวัยวะและในที่สุดอวัยวะเหล่านี้จะถูก จัดสรรเป็นระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น 

           1. ระบบผิวหนัง (Intergumentary System) ทำหน้าที่ห่อหุ้มปกคลุมร่างกาย ประกอบด้วยผิวหนัง (Skin) และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากผิวหนัง เช่น ขน ผม เล็บ ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำมัน
            2. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทำหน้าที่ช่วยทำให้ร่างกายเกิดการเคลื่อนไหว
            3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับระบบกล้ามเนื้อ เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นโครงร่างของร่างกายอีกด้วย
           4. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ทำหน้าที่นำอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และนำคาร์บอนไดออกไซด์กับของเสียจากเซลล์มาขับทิ้ง นอกจากนี้ ยังนำฮอร์โมนที่ผลิตได้จากต่อมไร้ท่อเพื่อส่งไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
          5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทำหน้าที่รับออกซิเจนจากภายนอกเข้าสู่ร่างกายและนำคาร์บอนไดออกไซด์
จากภายใน ออกมาขับทิ้งสู่ภายนอกร่างกาย โดยอาศัยระบบไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลางในการลำเลียงแก๊ส
           6. ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของทุกระบบในร่างกาย ให้สัมพันธ์กันโดยทำงานร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อนอกจากนี้ยังทำหน้าที่รับและ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
          7. ระบบต่อมต่าง ๆ (glands System) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน (hormone) ซึ่งเป็นสารเคมีและของเหลวโดยทำงานร่วมกับระบบประสาทในการควบคุมปฏิกริยาการ เผาผลาญต่าง ๆ ในร่างกาย
          8. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ทำหน้าที่ย่อยสลายอาหารที่รับประทานเข้าไปให้เป็นสารอาหาร และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
          9. ระบบขับถ่าย (Excretory System) ทำหน้าที่ขับถ่ายของเสียที่ร่างกายไม่ต้องการให้ออกจากร่างกาย
          10. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) ทำหน้าที่สืบทอด ดำรงและขยายเผ่าพันธุ์ ให้มีจำนวนมากขึ้น เพื่อไม่ให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ 
7 วิธีดูแลสุขภาพกายและใจเพื่อชีวิตสดใส
          หลายคนอาจจะคิดว่าความร่ำรวยเงินทองคือ บ่อเกิดของความสุข แต่คุณจะมีความสุขกับเงินที่หามาได้อย่างไร หากสุขภาพไม่เอื้ออำนวย ต้องเข้าโรงพยาบาลไปพบหมอมากกว่าได้เดินทางไปแหล่งท่องเที่ยว สุขภาพจึงเป็นเรื่องที่เราจะต้องให้ความสำคัญทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ซึ่งก็สามารถทำได้ดังต่อไปนี้
1.ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และทานให้ตรงเวลา


2.ดื่มน้ำให้พอเพียง

3.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
          

4.นอนหลับพักผ่อนอย่างพอเพียง
5.หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
 

6.รักษาสุขภาพจิตให้ดี

7.ให้เวลากับคนในครอบครัว
 

          สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์และการมีสุขภาพจิตที่ดี จะทำให้คุณสามารถสัมผัสกับความสุขได้อย่างเต็มที่ และแหล่งกำเนิดของความสุขด้วย คงไม่ใช่เรื่องที่ยากอะไรถ้าจะหันมาใส่ใจกับสุขภาพกัน เพื่อจะได้มีความสุขได้มากขึ้นในทุกวันที่ผ่านไป


โรคร้ายเสี่ยงตายสูงสูดของคนไทย เพราะชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนไป
          โรคร้ายที่ทุกวันนี้มีเพิ่มมากขึ้นในสังคม เป็นเพราะพฤติกรรมเสี่ยง ที่คนในสังคมสร้างขึ้นมาเองทั้งสิ้น ซึ่ง 10 โรคร้ายที่เป็นโรคเสี่ยงตาย ของคนไทยในยุคปัจจุบันนี้ ล้วนแต่เป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่ผิดปกติไป จนกลายเป็นปัญหาเรื้อรังด้านสุขภาพ และเป็นภัยเงียบที่สามารถคร่าชีวิตคนไทยไปได้หลายล้านคน แม้ว่าโรคเหล่านี้จะมีชื่อเป็นที่รู้จัก และรักษาได้ แต่ก็ไม่ควรที่จะประมาท เพราะอย่างน้อยการป้องกัน ก็ย่อมดีกว่ามารักษาในภายหลัง
  โรค NCDs คืออะไร
             โรค NCDs หรือ non-communicable diseases เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง คือ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรคและไม่สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้ แต่เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งจะมีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคหากไม่ได้รับการรักษาหรือดูแลอย่างถูกต้องและทันเวลาแล้วมักจะเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย
             จึงอาจจัดว่าโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคเรื้อรังได้ เช่น ➢ โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ➢ โรคความดันโลหิตสูง ➢ โรคหลอดเลือดหัวใจ ➢ โรคหลอดเลือดสมอง ➢ โรคเบาหวาน ➢ โรคมะเร็งต่างๆ ➢ โรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง ➢ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ➢ ถุงลมโป่งพอง ➢ โรคไตเรื้อรัง ➢ โรคอ้วนลงพุง ➢ โรคตับแข็ง ➢ โรคสมองเสื่อม


          ◉ สาเหตุหลักสำคัญของกลุ่มโรค NCDs คือพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ในการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่าง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก การมีความเครียดสูง การรับประทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ เป็นต้น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตเช่นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรค NCDs ได้มากกว่าคนอื่นๆ

           ◉ การป้องกันโรค NCDs ทำได้ง่ายๆ โดยเริ่มจากตัวเรา นั่นก็คือการปรับพฤติกรรมการดำเนินชีวิต เช่น ➢ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ เน้นการรับประทานผักและผลไม้ ➢ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสหวานจัด เค็มจัด อาหารมัน รวมถึงอาหารปิ้งย่าง ➢ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 30 นาที/ครั้ง สัปดาห์ละ 5 ครั้ง ➢ งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ➢ งดสูบบุหรี่ ➢ พักผ่อนให้เพียงพอ ➢ ผ่อนคลายความเครียด ➢ ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ ➢ รับประทานยาตามแพทย์สั่ง ➢ ไม่ซื้อยารับประทานเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร ➢ หากมีอาการผิดปกติใดๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์
   เพื่อการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างถูกต้อง และทันเวลาก่อนจะเกิดการเรื้อรังของโรคต่าง ๆ

    เรียนรู้เกี่ยวกับ โรค NCDs โรคที่เราสร้างเองอื่น ๆ 

มะเร็งร้าย
ครองอันดับ 1





หลอดเลือดหัวใจ
Heart Disease





โรคเบาหวาน
Diabetes Mellitus





ความดันโลหิตสูง
Hypertension





วัณโรค
Tuberculosis: TB





ปอดเรื้อรัง
COPD





โรคภูมิแพ้
Allergy





โรคระบบ
ประสาทจิตเวช





โรคระบบกล้ามเนื้อ
เส้นเอ็นอักเสบ





โรคอ้วน
Obesity





โควิด-19
COVID-19





เรียนรู้สาระน่ารู้เกี่ยวกับ สารอาหารสำคัญที่มีต่อร่างกายเรา คลิกที่รูปด้านล่าง...
กระเทียม

ประโยชน์
✍ลดไขมันในเลือด คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ มีงานวิจัยทั้งได้ผลและไม่ได้ผลแต่ไม่มีอันตราย
✍ลดการสร้างตะกอน Plaqueในเลือด
✍โรคเส้นเลือดหัวใจอุดตัน 
✍สารสำคัญในกระเทียม ยับยั้งและทำลายเซลล์มะเร็ง มะเร็งเต้านม มะเร็ง ปอด มะเร็งตับ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งจมูกและคอ  มะเร็งสมอง มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งปากมดลูก มะเร็งรังไข่ มะเร็งไทรอยด์ มะเร็งตับอ่อนมะเร็งผิวหนัง
✍เสริมสมรรถภาพทางเพศชายและหญิง 
✍ยับยั้ง HIV1


โรคหรือภาวะที่อาจแนะนำสารอาหารจากกระเทียมสดสกัด
🖌ไขมันในเลือดสูง 
🖌โรคมะเร็ง
🖌 โรคเอดส์ 
🖌มะเร็งเต้านม
🖌มะเร็งปอด
🖌มะเร็งตับ
🖌มะเร็งกระเพาะอาหาร
🖌มะเร็งหลอดอาหาร 
🖌มะเร็งลำไส้ใหญ่
🖌มะเร็งต่อมลูกหมาก 
🖌มะเร็งจมูกและคอ 
🖌มะเร็งสมอง
🖌 มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
🖌 มะเร็งเม็ดโลหิตขาว
🖌 มะเร็งปากมดลูก
🖌มะเร็งรังไข่
🖌 มะเร็งไทรอยด์ 
🖌มะเร็งไต
 🖌มะเร็งตับอ่อน 
🖌มะเร็งผิวหนัง

ข้อห้าม - ข้อควรระวัง
♦️ห้ามรับประทานในผู้มีเกร็ดเลือดต่ำ เลือดออกง่าย หรือมีประวัติเส้นเลือดแตกในสมอง หรือผู้ที่รับประทานยาแอสไพรินหรือยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาต้านแกนแข็งตัวของเลือดและยาละลายลิ่มเลือดเพราะอาจจะส่งเสริมทำให้เลือดหยุดได้ยากเวลามีบาดแผลหรือ เลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
♦️ เป็นสมุนไพร ถึงห้ามรับประทานในพืชที่ตับอักเสบมาก คือมีค่าการทำงานของตับมากกว่า เอนไซม์ sgot sgpt 40 IU
♦️ ผู้ที่ทานยาต้าน ไวรัสเอดส์ ไม่ควรรับประทานกระเทียม เพราะจะลดระดับยาต้านไวรัสในเลือดได้
♦️ ห้ามรับประทานในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ เพราะมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน

หมายเหตุ
คนรับประทานหลังอาหารเพราะบางคนระคายเคืองกระเพาะอาหารได้
ปัณจะภูตะ (ขนาด 700 มล.) เครื่องดื่มน้ำสมุนไพร 39 ชนิด

  ส่วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน
สินค้าขายดี จาก แคตตาล็อก กิฟฟารีน ทั้งหมดกว่า 2,000 รายการ
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต


ผลิตภัณฑ์
เพื่อความงาม


ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอาง


ผลิตภัณฑ์
ของใช้ส่วนตัว


ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม


ผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครัวเรือน



สถิติผู้เยี่ยมชม
วันนี้ 1
เมื่อวานนี้ 25
เดือนนี้ 1335
ทั้งหมด 128347

Copyright © TonBab Giffarine